Ruptured abdominal aortic aneurysm is a life threatening condition and when occur the mortality is about 50% (15-75%),so urgent surgery should be sdvised This article reviews clinical features, diagnosis, treatment and postoperative cares fo ruptured abdominal aortic aneurysm but this can slightly reduce mortality. The best way to decrease mortality is to 1) carefully treat the patient by a close follow up using ultrasonography for the aneurysm less than 4 cm. in diameter, 2) providing elective surgery for the aneurysm of about 4-5.9 cm. in diameter, and 3) if an aneurysm is greater than 6 cm. in diameter, it should be operated in every case. Abdominal Aortic Aneurysm (AAA) เป็นภาวะที่หลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพอง ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ infrarenal segment of the Abdominal Aorta สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก Atherosclerosis สาเหตุอื่นๆ เช่น Blunt trauma,Aortitis, infection หรือหลังผ่าตัดเกิดเป็น false aneurysm. AAA พบได้ในผู้ป่วยอายุ 60-70 ปี พบในชายมากกว่าหญิงอัตราส่วน 9:1 ดังนั้นจึงมีโรค Coronary heart disease และ Hypertension ร่วมด้วย (25% และ 39% ตามลำดับ) ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ มีผู้ป่วย AAA เป็นจำนวน 64% ของผู้ป่วย Aneurysm ทั้งหมดที่มารับการรักษาในหน่วยศัลยศาสตร์หัวใจหลอดเลือดและทรวงอก เนื่องจาก Aneurysm จะมีขนาดโตขึ้นปีละ 0.40-0.57 ซม. ทำให้มีความเสี่ยงในการแตกใน 5 ปี ประมาณ 20% (ปีละ 6%) สำหรับ aneurysm ที่มีขนาดน้อยกว่า 6 ซม. แต่ถ้า aneurysm ขนาดโตกว่า 6 ซม. จะมีโอกาสแตก 43% และมีอัตราตายในการผ่าตัดประมาณ 50% ยิ่งถ้า aneurysm โตกว่า 8 ซม. จะมีความเสี่ยงในการแตกถึง 90% . . .
Full text.