Untitled Document
 
 
 
 
Untitled Document
Home
Current issue
Past issues
Topic collections
Search
e-journal Editor page

Pedicle morphology of the first sacral vertebra in Thais

การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของ pedicle ในกระดูกสันหลังช่วงกระเบนเหน็บชิ้นที่ 1 ในคนไทย

Pitchanee Jariyapong (พิชชานีย์ จริยพงศ์) 1, Pasuk Mahakkanukrauh (ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์) 2




หลักการและเหตุผล : การผ่าตัดเชื่อมต่อกระดูกสันหลัง S1 ด้วยการใส่สกรูเป็นวิธีที่ใช้รักษาภาวะกระดูกสันหลังส่วนเอวกระเบนเหน็บไม่มั่นคงได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ความรู้อย่างถ่องแท้ทางสัณฐานวิทยาของกระดูก S1  จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพื่อป้องกันการแตกหักของ pedicle cortex     การบาดเจ็บของเส้นประสาท    facet joint  และโครงสร้างที่ใกล้เคียง

รูปแบบการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนา

สถานที่ทำการศึกษา:คลังกระดูกภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

กลุ่มตัวอย่าง:  กระดูกกระเบนเหน็บจากโครงกระดูกคนไทย ที่อยู่ในคลังกระดูกของภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  จากเพศชาย 59 ชิ้น และจากเพศหญิง 41 ชิ้น อายุระหว่าง 35-87 ปี

วิธีการการศึกษา :  วัดค่าความสูง (H),  ความกว้าง (W),  ระยะ XP distance,  T angle และ S angle  ของกระดูก S1 pedicle     บันทึกและนำข้อมูลไปวิเคราะห์

ผลการวิจัย:  ความสูงของ S1 pedicle ในเพศชายมีค่าเฉลี่ย  25.2+2.0 mm.  เพศหญิงมีค่าความสูง (H) เฉลี่ย 23.7+1.9 mm.    ความกว้าง (W)  เฉลี่ยในเพศชายมีค่า 25.1+ 2.5 mm.  เพศหญิงมีค่า 22.8+1.8 mm.   ระยะ XP distance เฉลี่ยในเพศชายมีค่า 50.0+3.6 mm.  เพศหญิงมีค่า 47.13+3.4 mm.   ผลการศึกษาค่าทั้ง 3 ดังกล่าวมีความแตกต่างระหว่างเพศชายและหญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05)  อย่างไรก็ตามผลการศึกษาค่า T angle และ S angle  ในเพศชายและหญิงพบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย     T angle  เฉลี่ยในเพศชายมีค่า 36.72+3.4 องศา  เพศหญิงมีค่า 37.58+2.9 องศา  และค่า S angle เฉลี่ยในเพศชายมีค่า  16.45+4.5 องศา  เพศหญิงมีค่า 16.9+5.1 องศา   

สรุป: ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างเพศชายและเพศหญิงในค่าของความสูง ความกว้าง XP distance แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติใน T angle และ S angle   ผลการศึกษานี้จึงใช้เป็นข้อมูลสำหรับแพทย์ที่ควรระมัดระวังในการทำการผ่าตัดรักษาภาวะกระดูกสันหลังส่วนเอวไม่มั่นคงผู้ป่วยเพศชายและเพศหญิงที่มีสัณฐานวิทยาของกระดูกกระเบนเหน็บที่แตกต่างกัน

Background : Spinal fusion with S1 dorsal screw placement has been used successfully in the management of lumbosacral instability. A detailed knowledge on the morphology of the first sacral vertebra is necessary in order to avoid fracture of pedicle cortex, injury of nerve root, facet joint and adjacent vital structures.

Objective : To determined the morphological parameters of the first sacral vertebra of Thais.

Design:  Descriptive study based on numerical survey.

Setting:  Bone Collection Unit, Department of Anatomy, faculty of Medicine, Chiangmai University, Thailand

Subjects:  Human skeleton S1 pedicles from Thai skeletons, 59 males and 41 females between 35 and 87 years of age 

Material and Methods:  The cephalad-caudad height (H), anterior – posterior width (W), XP distance, T angle and S angle of S1 pedicle were determined and record.

Result:        Results show that the mean height, width and XP distance of S1 pedicle were significantly different between male and female (p< 0.05)   The mean height of the pedicle were  25.2+2.0 mm. and 23.7+1.9 mm., the mean width were 25.1+2.5 mm. and 22.8+1.8 mm., and the mean XP distance were 50+3.6 mm. and 47.13+3.4 mm for male and female, respectively.  However, there was no stastically significant difference in T angle and S angle between male and female. The mean T angle of male pedicle were  36.72+3.4o  and female were 37.58+2.9o. The mean S angle were 16.45+4.5o in male and 16.9+5.1o  in  females.

Conclusion : The present study revealed that height, width and XP distance of S1 pedicles were statistically different between males and females, whereas T angle and S angle were not (different between two groups. Morphological parameters of the first sacral vertebra provide useful information for spinal fusion with S1 screw placement among male and female

Key words:  S1 pedicle,  lumbosacral instability, spinal fusion

 

. . . Full text.
Untitled Document
Article Location

Untitled Document
Article Option
       Abstract
       Fulltext
       PDF File
Untitled Document
 
ทำหน้าที่ ดึง Collection ที่เกี่ยวข้อง แสดง บทความ ตามที่ีมีใน collection ที่มีใน list Untitled Document
Another articles
in this topic collection

Obturator Hernia in Thai Cadaver: A Case Report (ไส้เลื่อน Obturator ในศพคนไทย: รายงาน 1 ศพ)
 
Silicone Moulds for Embedding of Tissue for Electron Microscopy (แบบยางซิลิโคนสำหรับฝังเนื้อเยื่อที่ใช้ตัดเพื่อศึกษา ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน )
 
Embryonic Stem Cells in The Treatment of Neurodegenerative Disorders (เซลล์ต้นตอจากเอ็มบริโอกับการรักษาโรคในระบบประสาท)
 
Six lumbar vertebrae in Thai : A case report (กระดูกสันหลังระดับเอว 6 ชิ้นในคนไทย : รายงาน 1 ราย)
 
<More>
Untitled Document
 
This article is under
this collection.

Anatomy
 
 
 
 
Srinagarind Medical Journal,Faculty of Medicine, Khon Kaen University. Copy Right © All Rights Reserved.
 
 
 
 

 


Warning: Unknown: Your script possibly relies on a session side-effect which existed until PHP 4.2.3. Please be advised that the session extension does not consider global variables as a source of data, unless register_globals is enabled. You can disable this functionality and this warning by setting session.bug_compat_42 or session.bug_compat_warn to off, respectively in Unknown on line 0