During the 8 year period form 1997-1984, both temporary and permanent contraceptions were given by the Family Planning Unit, Srinagarind Hospital. The temporary methods given were intrauterine devices (IUDS) 1,026 cases, injection contraception (DMPA) 681 cases, and oral contraception (OC) 786 cases. The permanent methods given were vasectomies for male sterilization 143 cases, laprocator 146 cases, minilaparotomy for interval female sterilization 2,987 cases, minilaparotomy for postpartum tubal sterilization and caesarean section with tubal sterilization and caesarean section with tubal sterilization 6,418 cases.
72.1% of the cases were from Khon Kaen province, while the others were from nearby provinces suxh as Mahasarakam, Kalasin, and Udon Thani.
The average age and number of living children of those who had the female sterilization were 29.5 + 0.3 years and 3.02 + 0.9 children, respectively. 67.0% of them were in agricultural profession, and 61.3 % of them had previously used various temporary methods. The average age number of living children of those who had the male sterilization were 33.6 + 1.6Years and 2.7 + 0.9 children, respectively. 44.5% of them were government officials and 47.3% of them had previously used various temporary methods. The average ages of those who used the IUD,DMPA and OC methods were 25.2 + 0.9, 24.3 + 1.2 and 24.4 + 1.2 years, respectively. The average number of living children of those who used the temporary methods wad 1.5 + 0.8 children. 39.6% of those who used the IUD and 44.4% of those who use the OC were government officials while 29.4% of those who use the injection contraception were housewives. The rate of complication in all contraception cases was very low, and none of them was serious was serious. The pregnancy rate in those who had the female sterilization and injection was 0.3% , and that in those who used the IUD was 3.4%. (Srinagarind Hosp Med J.1986 ; 1 : 41 49)
การคุมกำเนิดชั่วคราว มีผู้รับบริการโดยวิธีห่วงอนามัย 1,026 ราย ยาฉีดคุมกำเนิด 681 รายและยาเม็ดคุมกำเนิด 786 ราย ส่วนผู้รับบริการคุมกำเนิดถาวรโดยวิธีทำหมันชาย 143 ราย ทำหมันหญิงประเภทหมันแห้งโดยวิธีใช้กล้อง laprocator 146 ราย และการผ่าตัดโดยการทำแผลหน้าท้องขนาดเล็ก (minilaparotomy) 2,987 ราย ทำหมันหลังคลอดโดยวิธี minilaparotomy และทำพร้อมกับการผ่าตัดคลอด (caesarean section) 6,418 ราย รวมผู้รับบริการคุมกำเนิดทั้งสิ้น 13,150 ราย ที่หน่วยงานแผนครอบครัว โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระยะเวลา 8 ปี โดยเหตุผลมีบุตรเพียงพอแล้วและฐานะยากจน ผู้รับบริการไม่ต้องพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล ผู้รับบริการคุมกำเนิดมีถิ่นที่อยู่อาศัยอยู่ในจังหวัดขอนแก่นร้อยละ 72.1 นอกนั้นมีถิ่นที่อยู่อาศัยในจังหวัดมหาสารคาม กาฬสินธุ์ และอุดรธานี ตามลำดับ อายุเฉลี่ยของผู้รับบริการทำหมันหญิง 29.5 + 0.3 ปี มีอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 67.9 มีบุตรมีชีวิตเฉลี่ย 3.02 + 0.9 คน ขณะที่มาขอรับบริการทำหมันใช้วิธีคุมกำเนิดชั่วคราวร้อยละ 61.3 อายุเฉลี่ยของผู้รับบริการทำหมันชาย 33.6 + 1.6 ปี มีอาชีพรับราชการร้อยละ 44.8 มีบุตรมีชิวิตเฉลี่ย 2.7 + 0.9 คน ขณะที่มาขอรับบริการทำหมันชายใช้วิธีคุมกำเนิดชั่วคราวร้อยละ 47.3 อายุเฉลี่ยของผู้รับบริการห่วงอนามัย ยาฉีดคุมกำเนิด และยาเม็ดคุมกำเนิดเป็น 25.2 + 0.9,24.3 + 1.2 ปี ตามลำดับมีบุตรมีชีวิตเฉลี่ยในแต่ละวิธี 1.5 + 0.8 คน ร้อยละ 39.6 ของผู้ใช้ห่วงอนามัยและร้อยละ 44.4 ของผู้ใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดมีอาชีพรับราชการ ส่วนผู้รับบริการยาฉีดคุมกำเนิดมีอาชีพแม่บ้านร้อยละ 29.4 การคุมกำเนิดทุกวิธีเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะรับบริการต่ำและไม่เป็นอันตรายร้ายแรงถึงชีวิตอัตราการตั้งครรภ์ร้อยละ 0.3 ในการทำหมันหญิงและยาฉีดคุมกำเนิด อัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มที่ใช้ห่วงอนามัยร้อยละ 3.4 . . .
Full text.
|