e-journal Editor page
Efficacy of Zingiber cassumunar ROXB. (Plygesal) in the Treatment of Ankle sprain
ความสัมฤทธิ์ผลของครีมสมุนไพรไพล
(ไพลจีซาล) ในการรักษาข้อเท้าแพลง
Wiroon Loupattarakasem (วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม) 1, Weerachai Kowsuwon (วีระชัย โควสุวรรณ) 2, Pesamai Laupattarakasem (พิสมัย เหล่าภัทรเกษม) 3, Wichai Eungpinitpong (วิชัย อึงพินิจพงศ์) 4
1. Department of Orthopaedics,, F.R.C.S. (T) F.I.M.S. F.I.C.S., 2. Department of Orthopaedics,, M.D.,M.Sc.,F.I.M.S., 3. Department of Orthopaedics, Faculty of Medicine, B.Pharm. M.Sc., 4. Department of Physical Therapy, Faculty of Associated Medical Science Khon Kaen University, Khon Kaen 4002, Thailand, B.Sc., M.Sc,
1. ภาควิชาออร์โธปิดิคส์, พ.บ.,, 2. ภาควิชาออร์โธปิดิคส์ คณะแพทยศาสตร์, พ.บ., 3. ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์, ภ.บ., วท.ม. (เภสัชวิทยา), 4. ภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, วท.บ., วท.ม (กายภาพบำบัด),
|
Phlai (Zingiber cassumunar ROXB.) is an indigenous Thai medicinal herb famous as an antiinflammatory remedy. Essential oil from this plant rhizome has been extracted and developed into a opical cream (14% phlai oil) Known as Plygesal. This double blinded randomized cotrolled joint motions after an ankle for 7 day daily assessments. For the ten Plygesal - treated ankles, applications of the cream twice daily significantly (p < 0.05) reduced the severity of swelling. Patients became less painful (tested by visual analogue scale) than controls after four days and taking less analgesics (paracetamol) during the first two days. The treated ankles could dorsiflex more then the placebo group, but magnitude of plantar flexion were not different between both groups. In conclusion, this phlai cream is efficacious in reducing symptoms and signs of ankle sprain that joint stability has not been violated.
บดคัดย่อ
ไพล (Zingiber cassumunar ROXB.) เป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณสำคัญ ในการรักษาอาการอักเสบ การวิจัยนี้เป็นแบบ double blinded randomized controlled trial มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลดังกล่าวของไพลที่ผลิตในรูปยาเตรียมชื่อ ไพลจีซาล (Plygesal) ซึ่งเป็นครีมใช้ทาภายนอก (ประกอบด้วยน้ำมันไพล 14%) โดยใช้ตัวอย่างจากนักกีฬาที่ได้รับบาดเจ็บข้อเท้าแพลงที้ข้อยังไม่เสียความมั่นคง จากผู้ป่วยจำนวน 35 ราย ที่ได้ยินยอมให้ทำการวิจัย มีเพียง 21 ราย ที่ได้ยินยามให้ทำการวิจัย มีเพียง 21 ราย (ชาย 18, หญิง 3) ที่สามารถติดตามผลได้ ครบ 7 วัน พบว่าผู้ป่วย 10 ราย ที่ได้ยาจริงแสดงอาการบวกที่บริเวณข้อเท้าน้อยกว่ากลุ่มที่ใช้ยาหลอกในด้านการลดปวดนั้น ๆ แม้กลุ่มแรกจะรู้สึกปวดน้อยกว่ากลุ่มหลังอย่างมีนัยสำคัญหลังจาก 4 วันแล้วก็ตาม แต่ใน 2 วันแรกจะมีการรับประทานยาแก้ปวด paracetamol น้อยกว่า นอกจากนี้ กลุ่มแรกยังสามารถขยับข้อเท้าลงได้มากกว่ากลุ่มหลังโดยที่การขยับข้อเท้าลงได้มากกว่ากลุ่มหลังโดยที่การขยับข้อขึ้นนั้นไม่มีความแตกต่างกัน โดยสรุป แล้ว ยาครีมที่เตรียมจากไพล (ไพลจีซาล) นี้มีสรรพคุณในการช่วยลดอาการอักเสบของข้อเท้าแพลงที่ไม่เสียความมั่นคงของข้อได้จริง . . .
Full text.
|
|
|
|
|