Objective: Computer Assisted Instruction (CAI) is a modern education technique in the present day. In medical education, it is accepted as an effective tool to improve the students' knowledge. In this study, evaluation of efficacy of CAI as additional media for medical procedure training was performed. Method: A trial was set in a session of blood collection procedure training in Department of Laboratory Medicine, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University. 30 medical students were recruited into this study. They were simple randomized into equal groups, group A for conventional training program and group B for CAI training program. Result: Evaluation of effectiveness score after study, revealed that the second group presented significant higher score than the first group (P < 0.05). Conclusion: This indicated that CAI can also help medical students improve their cognitive in procedure practice. The author recommended usage of CAI as additional media in teaching other medical procedures.
วัตถุประสงค์: ซี เอ ไอ เป็นสื่อการสอนชนิดใหม่ที่เป็นที่ยอมรับว่าสามารถสร้างองค์ความรู้ที่ดีแก่นิสิตแพทย์ได้ และถูกนำมาใช้ในทางแพทยศาสตร์ศึกษาในประเทศไทย ได้ทำการศึกษาประสิทธิภาพของการใช้สื่อการสอน ซี เอ ไอ เอช่วยการสอนการฝึกหัดการเจาะเลือดสำหรับนิสิตแพทย์ไทย โดยใช้รูปแบบการศึกษาแบบการศึกษาเชิงทดลองแบบวัดผลภายหลัง วิธีการ: ได้ทำการศึกษาเชิงการทดลองโดยได้ทำการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจำนวน30 คน (ชาย 15 หญิง 15) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยแบ่งนิสิตทั้งหมดเป็น 2 กลุ่มเท่าๆกันโดยการสุ่ม คือ กลุ่ม A ได้รับการฝึกหัดแบบประเพณีนิยม และ กลุ่ม B ได้รับการฝึกหัดแบบใช้ซี เอ ไอเป็นสื่อในการสอน ผลการศึกษา: ภายหลังจากการฝึกหัดเสร็จสิ้นได้ทำการประเมินประสิทธิภาพของวิธีการฝึกหัดในแต่ละกลุ่ม โดยพบว่าแต้มประเมินประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยในกลุ่มที่ใช้การฝึกหัดโดยใช้สื่อ ซี เอ ไอ ร่วมด้วยมีค่าสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05) บทสรุป: เห็นได้ว่าการฝึกหัดแบบใช้ซี เอ ไอเป็นสื่อเป็นการฝึกหัดที่ให้ผลสัมฤทธิ์ที่ดีสามารถใช้เป็นสื่อการสอนองค์ความรู้ทางทักษะทางการแพทย์
. . .
Full text.
|