Untitled Document
 
 
 
 
Untitled Document
Home
Current issue
Past issues
Topic collections
Search
e-journal Editor page

Vitamin D Deficiency and the Risk of Osteoporosis in Elderly Women

การขาดวิตามินดีและความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุนในสตรีสูงอายุ

Supasin Soontrapa (ศุภศิลป์ สุนทราภา) 1, Sukree Soontrapa (สุกรี สุนทราภา) 2, , Charoonsak Somboonporn (จรูญศักดิ์ สมบูรณ์พร) 3, Woraluk Somboonporn (วรลักษณ์ สมบูรณ์พร) 4




บทนำ :   การขาดวิตามินดีจะนำไปสู่ภาวะ secondary hyperparathyroidism ทำให้มีการสลายกระดูกเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะกระดูกเนื้อแน่น (cortical bone) ทำให้เกิดโรคกระดูกพรุน กระดูกที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือคอกระดูกต้นขา (femoral  neck) จนถึงปัจจุบันนี้มีการศึกษาน้อยมากที่แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของการขาดวิตามินดีต่อมวลกระดูก ระดับของ calcidiol ที่แสดงถึงการขาดวิตามินดีมีค่าแตกต่างอย่างมากในการศึกษาต่าง ๆ โดยมีค่าตั้งแต่ 10-40  ng/ml จากการศึกษาของคณะผู้วิจัยพบว่าระดับของ calcidiol ของสตรีสูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดขอนแก่น ที่ถือว่าขาดวิตามินดีอยู่ที่ <35 ng/ml
วัตถุประสงค์ : หาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุนของ lumber spine,proximal femur และ distal radius ในกลุ่มสตรีสูงอายุที่มีระดับของ serum calcidiol <35 ng/ml เทียบกับสตรีสูงอายุที่มีระดับ serum calcidiol> 35 ng/ml
รูปแบบการศึกษา : Cross-sectional descriptive study
สถานที่ทำการศึกษา : ทำการศึกษาในเขตเทศบาลเมืองจังหวัดขอนแก่น ประเทศไทย
ผลการศึกษา :  ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของอายุ น้ำหนัก ส่วนสูง BMI และระดับของ alkaline phosphatase ระหว่างสตรีสูงอายุในกลุ่มที่ขาดและไม่ขาดวิตามินดีมีเพียงค่า PTH เท่านั้นที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ในทั้งสองกลุ่ม และพบมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุนบริเวณ femoral neck ในกลุ่มที่ขาดวิตามินดีมากกว่ากลุ่มที่ไม่ขาดวิตามินดีอย่างมีนัยสำคัญโดยมีค่า odds ratio (95%CI)=2.87 (1.15-7.15),p=0.02 ในขณะที่กระดูกบริเวณอื่นไม่พบความเสี่ยงที่ต่างกันในทั้งสองกลุ่ม
สรุป :   ภาวะขาดวิตามินดีจะทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุนของ femoral neck เพิ่มขึ้น

Backgroud : Vitamin D deficiency lead to elevations in parathyroid hormone levels, resulting in increased bone resorption and reduced  BMD, especially cortical bone, and caused skeletal osteoporosis.  Up  to now there are very few studies to show the effect of vitamin D deficiency on bone mineral density.  The level of vitamin D deficiency vary considerably with latitude, also the variability in the different vitamin D assays, that varies from 10 – 40 ng/ml. From our previous study about prevalence of vitamin D deficiency, it being found that the level of calcidiol < 35 ng/ml was th level of vitamin D deficiency.
Objective : To determine the risk of osteoporosis in lumbar spine, proximal femur and the distal radius, between the elderly women with and without vitamin D deficiency.
Design : Cross – sectional descriptive study.
Setting : Municipality  of Khon Kaen province, Thailand.
Outcome Measurements : Serum calcidiol and PTH  levels and  bone mineral density of lumbar spine, proximal femur and distal forearm.
Results : No any significant difference in age, weight, height, BMI  and  the  alkaline  phosphatase  level  between  both  groups.  There  was  only  PTH  level  that  showed  significant  difference  between  both  groups.  A  calcudiol  level  of  <  35   ng/ml  was  associated  with  an  increased  in  the  risk  of  osteoporosis  of  femoral  neck  with  the  odds  ratio  (95%CI)  of  2.87  (1.15;7.15), p = 0.02. But  no  any  risks  in  other  parts  of  the  skeletons.
Conclusion : Vitamin  D  deficiency  increased  the  risk  of  osteoporosis  of  the  femoral  neck.

. . . Full text.
Untitled Document
Article Location

Untitled Document
Article Option
       Abstract
       Fulltext
       PDF File
Untitled Document
 
ทำหน้าที่ ดึง Collection ที่เกี่ยวข้อง แสดง บทความ ตามที่ีมีใน collection ที่มีใน list Untitled Document
Another articles
in this topic collection

Silicone Moulds for Embedding of Tissue for Electron Microscopy (แบบยางซิลิโคนสำหรับฝังเนื้อเยื่อที่ใช้ตัดเพื่อศึกษา ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน )
 
 
Cervical Intraepithelial Neoplasia and Cancer in HIV-Epidemic Era (การเกิดรอยโรคภายในเยื่อบุปากมดลูกและมะเร็งปากมดลูกในสถานการณ์ที่มีการแพร่กระจายของเชื้อเอชไอวี)
 
Prevalence and Factors Associated with Sufficient Physical Activity Among Medical Students in Khon Kaen University (ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการออกกำลังกายอย่างเพียงพอของนักศึกษาแพทย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา 2549)
 
<More>
Untitled Document
 
This article is under
this collection.

Aiging/ Geriatrics
 
Reproductive Health
 
 
 
 
Srinagarind Medical Journal,Faculty of Medicine, Khon Kaen University. Copy Right © All Rights Reserved.
 
 
 
 

 


Warning: Unknown: Your script possibly relies on a session side-effect which existed until PHP 4.2.3. Please be advised that the session extension does not consider global variables as a source of data, unless register_globals is enabled. You can disable this functionality and this warning by setting session.bug_compat_42 or session.bug_compat_warn to off, respectively in Unknown on line 0