Untitled Document
 
 
 
 
Untitled Document
Home
Current issue
Past issues
Topic collections
Search
e-journal Editor page

Radiation Doses at Eye Lens and Thyroid Gland of Patients and Medical Staffs Received from Video Fluoroscopy

ปริมาณรังสีที่เลนส์ตาและต่อมไทรอยด์ที่ผู้ป่วยและผู้ปฏิบัติงานได้รับจากการตรวจวิดีโอฟลูออโรสโคปี

Somsak Wongsanon (สมศักดิ์ วงษ์ศานนท์) 1, Petcharakorn Hanpanich (เพชรากร หาญพานิชย์) 2, Pattra Wattanapun (ภัทรา วัฒนพันธุ์) 3, Arunnit Boonrod (อรุณนิตย์ บุญรอด) 4, Kantapong Jaiwong (กันตพงศ์ ใจวงษ์) 5, Vithit Pungkun (วิทิต ผึ่งกัน) 6, Panatsada Awikunprasert (ปนัสดา อวิคุณประเสริฐ) 7




หลักการและวัตถุประสงค์: ตรวจวัดปริมาณรังสีที่เลนส์ตาและไทรอยด์ที่ผู้ป่วยและผู้ปฏิบัติงานได้รับจากการตรวจวิดีโอฟลูออโรสโคปี การสำรวจปริมาณภายในและภายนอกห้องตรวจ และเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่เลนส์ตาและไทรอยด์ได้รับเมื่อใช้เทคนิคฟลูออโรสโคปีที่แตกต่างกันในหุ่นจำลองศีรษะ

วิธีการศึกษา: ใช้อุปกรณ์วัดปริมาณโอเอสแอล ติดที่เลนส์ตาและไทรอยด์ในผู้ป่วยและผู้ปฏิบัติงาน และหุ่นจำลองศีรษะ เพื่อวัดค่าปริมาณรังสี และใช้อุปกรณ์วัดปริมาณรังสีโอเอสแอลเพื่อสำรวจปริมาณรังสีภายในและภายนอกห้องตรวจฟลูออโรสโคปี

ผลการศึกษา: ผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีเฉลี่ยสูงสุดที่ไทรอยด์ด้านขวา 645.4 µSv/min ผู้ปฏิบัติงานได้รับปริมาณรังสีเฉลี่ยที่เลนส์ตาในช่วง 1-2.4 µSv/min ปริมาณรังสีภายในและภายนอกห้องฟลูออโรสโคปี มีค่าอยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย การเลือกใช้เทคนิคฟลูออโรสโคปีที่ต่างกัน ส่งผลต่อความละเอียดและสัญญาณรบกวนของภาพ และปริมาณรังสีจากเทคนิคการปล่อยรังสีต่อเนื่องมีค่าสูงกว่าการใช้เทคนิคการปล่อยรังสีแบบเป็นจังหวะ

สรุป: การป้องกันอันตรายจากรังสี สามารถทำได้โดยการปรับเปลี่ยนเทคนิคที่ใช้ในการตรวจ การเลือกใช้อุปกรณ์ในการตรวจ การอบรมทบทวนความรู้ให้กับผู้ปฏิบัติงานในด้านการป้องกันอันตรายจากรังสี รวมถึงการที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับทราบปริมาณรังสีที่ตนเองได้รับจากการปฏิบัติงานจะช่วยเพิ่มความตระหนักถึงอันตรายจากรังสีมากขึ้น

Background and Objective: This study aimed to measure radiation exposure to eye lens and thyroid of patients and medical staffs during x-ray fluoroscopy. The measurement of area radiation dose inside and outside of fluoroscopic room were also observed. The radiation dose to eye lens and thyroids from different fluoroscopic techniques were measured in head phantom.

Methods: Optically stimulated luminescence (OSL) dosimeters were placed on eyes and thyroid of patients and staffs, and head phantom for radiation dose measurement. The survey of area radiation dose was conducted using OSL dosimeters.

Results: Patients underwent fluoroscopy received the highest dose at right thyroid at 645.4 µSv/min. Staff’s thyroid and hands received radiation dose in the range of 1-2.4 µSv/min. The radiation doses inside and outside fluoroscopic room were in the safety level. The different fluoroscopic techniques affect the resolution and noise of images. The continuous fluoroscopic technique releases higher radiation dose than the pulse fluoroscopic technique.

Conclusions: Radiation protection considerations can be performed by adjusting the appropriate exposure techniques, using the radiation protective equipment, training and providing staff knowledge’s. Also, the monitoring of personal dose received from work will enhance an individual self’s awareness of radiation protection.

 

. . . Full text.
Untitled Document
Article Location

Untitled Document
Article Option
       Abstract
       Fulltext
       PDF File
Untitled Document
 
ทำหน้าที่ ดึง Collection ที่เกี่ยวข้อง แสดง บทความ ตามที่ีมีใน collection ที่มีใน list Untitled Document
Another articles
in this topic collection

Fear Level in Preschoolers Undergoing Computed Tomography: Affect of Psychological Preparation by Story vs. Normal Preparation (การศึกษาเปรียบเทียบความกลัวการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของเด็กวัยก่อนเรียนระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเตรียมจิตใจด้วยการเล่านิทานกับกลุ่มที่ได้รับการเตรียมตามปกติ)
 
Risk Factors Associated With Allergic To Non – Ionic Contrast Media In Patients Undergoing Chest Or Abdominal Computed Tomography (ปัจจัยเสี่ยงต่อการแพ้สารทึบรังสีชนิดไม่แตกตัวในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอกและช่องท้อง)
 
Diagnostic Reliability of the Singh Index : Femoral Neck Osteoporosis (ความน่าเชื่อถือของ Sign index ในการวินิจฉัยโรคกระดูกำพรุนของคอกระดูกต้นขา)
 
Clinical Manifestations and Angiographic Ceatures in Carotid – Cavernous sinus Fistula (ลักษณะทางคลินิกและลักษณะทางรังสีวิทยาในผู้ป่วย Carotid – Cavernous sinus Fistula)
 
<More>
Untitled Document
 
This article is under
this collection.

Radiology
 
 
 
 
Srinagarind Medical Journal,Faculty of Medicine, Khon Kaen University. Copy Right © All Rights Reserved.
 
 
 
 

 


Warning: Unknown: Your script possibly relies on a session side-effect which existed until PHP 4.2.3. Please be advised that the session extension does not consider global variables as a source of data, unless register_globals is enabled. You can disable this functionality and this warning by setting session.bug_compat_42 or session.bug_compat_warn to off, respectively in Unknown on line 0