Untitled Document
 
 
 
 
Untitled Document
Home
Current issue
Past issues
Topic collections
Search
e-journal Editor page

Measurements of Eye Lens Doses in Phantom Using Optically Stimulated Luminescence (OSL) Dosimeter

การวัดปริมาณรังสีสมมูลเลนส์ตาในเนื้อเยื่อจำลองโดยใช้อุปกรณ์วัดปริมาณรังสีโอเอสแอล

Anyamanee Sakkantapinyo (อัญมณี ศักดิ์คันธภิญโญ) 1, Vithit Pungkun (วิทิต ผึ่งกัน) 2, Panatsada Awikunprasert (ปนัสดา อวิคุณประเสริฐ) 3




หลักการและวัตถุประสงค์: การใช้รังสีร่วมรักษาเป็นวิธีการที่เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดอันตรายต่อดวงตามากขึ้น และเป็นสาเหตุของอาการผิดปกติที่เลนส์ตา เช่น เลนส์ตาขุ่นมัวและต้อกระจก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของอุปกรณ์วัดปริมาณรังสีโอเอสแอลชนิดนาโนดอทและการคำนวณค่าปริมาณรังสีสมมูลประจำตัวบุคคลที่เลนส์ตาจากการจำลองสถานการณ์ในเนื้อเยื่อจำลอง

วิธีการศึกษา: ฉายรังสีเอกซ์พลังงาน 33, 47 และ 65 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ด้วยปริมาณรังสี 500, 1000 และ 2000 ไมโครซีเวิร์ต ลงบนอุปกรณ์วัดปริมาณรังสีโอเอสแอลชนิดนาโนดอทที่วางอยู่บนเนื้อเยื่อจำลอง จากนั้น คำนวณค่าปริมาณรังสีและจำลองสถานการณ์การได้รับรังสีของผู้ปฏิบัติงานกรณีสวมใส่และไม่สวมใส่แว่นตาตะกั่ว

ผลการศึกษา:ประสิทธิภาพของอุปกรณ์วัดปริมาณรังสีโอเอสแอลชนิดนาโนดอท มีค่าความคลาดเคลื่อนร้อยละ 0.11 ถึง 5.84 ค่าปริมาณรังสีเฉลี่ยที่ตำแหน่ง 3 มิลลิเมตร มีความสัมพันธ์กับปริมาณรังสีที่อ้างอิงแบบเชิงเส้น (R2>0.99)และลดลงเมื่อระยะห่างระหว่างเลนส์ตาและแหล่งกำเนิดรังสีเพิ่มมากขึ้น เมื่อสวมใส่แว่นตาตะกั่วสามารถลดค่าปริมาณรังสี ได้ถึง 103 – 1012เท่า

สรุป: ตำแหน่งและมุมที่เลนส์ตาทำกับแหล่งกำเนิดรังสี และการดูดกลืนรังสีเอกซ์ของตะกั่วที่พลังงานต่างๆมีผลต่อค่าปริมาณรังสี การสวมใส่แว่นตาตะกั่วช่วยลดปริมาณรังสี ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดลนส์ตาขุ่นมัวและต้อกระจกได้อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05)

 

Background and Objective: Intervention radiology is one of the medical procedure that induce a risk from x-ray ionizing radiation. The risk includes biological effect to eye lens, for example, lens opacities and cataract. The purpose of this study was to measure the eye lens doses in phantom using optically stimulated luminescence(nanoDot). The efficiency of OSL and the calculated personal dose equivalent for eye lens(Hp(3))were simulated and performed using cylindrical phantom.

Methods: OSL nanoDot were placed on the phantom and irradiated with the x-ray energy of 33, 47, and 65 keV. The simulation of eye lens doses of occupational radiation workers in case of wearing and not wearing lead glasses were calculated at the doses of 500, 1000, and 2000 mSv.

Results: The results showed that the accuracy of OSL was 0.11% to 5.84%. The calculated Hp(3) was linearly related to delivered doses(R2 > 0.99). The Hp(3) decreased when the distance between the eye lens and radiation source was increased. With the radiation protection glasses,the occupational radiation dose was reduced from103 to 1012times compare to without lead glasses.

Conclusions: The position and the angle of eye lens against the radiation source and lead absorption energies of X-ray affect to Hp(3). The Hp(3) was significantly reduced when wearing the lead glasses which help to reduce the risk of opacities and cataract.

 

. . . Full text.
Untitled Document
Article Location

Untitled Document
Article Option
       Abstract
       Fulltext
       PDF File
Untitled Document
 
ทำหน้าที่ ดึง Collection ที่เกี่ยวข้อง แสดง บทความ ตามที่ีมีใน collection ที่มีใน list Untitled Document
Another articles
in this topic collection

Fear Level in Preschoolers Undergoing Computed Tomography: Affect of Psychological Preparation by Story vs. Normal Preparation (การศึกษาเปรียบเทียบความกลัวการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของเด็กวัยก่อนเรียนระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเตรียมจิตใจด้วยการเล่านิทานกับกลุ่มที่ได้รับการเตรียมตามปกติ)
 
Risk Factors Associated With Allergic To Non – Ionic Contrast Media In Patients Undergoing Chest Or Abdominal Computed Tomography (ปัจจัยเสี่ยงต่อการแพ้สารทึบรังสีชนิดไม่แตกตัวในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอกและช่องท้อง)
 
Diagnostic Reliability of the Singh Index : Femoral Neck Osteoporosis (ความน่าเชื่อถือของ Sign index ในการวินิจฉัยโรคกระดูกำพรุนของคอกระดูกต้นขา)
 
Clinical Manifestations and Angiographic Ceatures in Carotid – Cavernous sinus Fistula (ลักษณะทางคลินิกและลักษณะทางรังสีวิทยาในผู้ป่วย Carotid – Cavernous sinus Fistula)
 
<More>
Untitled Document
 
This article is under
this collection.

Radiology
 
 
 
 
Srinagarind Medical Journal,Faculty of Medicine, Khon Kaen University. Copy Right © All Rights Reserved.
 
 
 
 

 


Warning: Unknown: Your script possibly relies on a session side-effect which existed until PHP 4.2.3. Please be advised that the session extension does not consider global variables as a source of data, unless register_globals is enabled. You can disable this functionality and this warning by setting session.bug_compat_42 or session.bug_compat_warn to off, respectively in Unknown on line 0