Untitled Document
 
 
 
 
Untitled Document
Home
Current issue
Past issues
Topic collections
Search
e-journal Editor page

The Incidence of Spinal Anesthetic Complications: A case study in Kosumpisai Hospital , During the Year 2009-2011

อุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการฉีดยาชาเข้าช่องไขสันหลัง : กรณีสึกษาในโรงพยาบาลโกสุมพิสัย ระหว่างปีพ.ศ.2552-2554

Hutsacha Nueaitong (หัสชา เนือยทอง) 1




หลักการและวัตถุประสงค์ :  การฉีดยาชาเข้าช่องไขสันหลังเป็นหัตการที่มีประโยชน์แต่ก็มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้หลายอย่างบางครั้งรุนแรงถึงขั้นทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ การศึกษาครั้งนี้ต้องการศึกษาอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะแทรกซ้อนในโรงพยาบาลโกสุมพิสัยระหว่างวันที่ 1มกราคม พ.ศ.2552 ถึง 31ธันวาคม พ.ศ. 2554

วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการระงับความรู้สึกของผู้ป่วยที่ได้รับการฉีดยาชาเข้าช่องไขสันหลังในโรงพยาบาลโกสุมพิสัย  

ผลการศึกษา   ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษามีผู้ป่วยได้รับการฉีดยาชาเข้าช่องไขสันหลังจำนวน 236 ราย มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น 19 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.1 ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยที่สุดคือ อัตราการเต้นของหัวใจช้า พบ 8 ราย (ร้อยละ3.4) รองลงมาคือ ความดันโลหิตต่ำ พบ 7 ราย (ร้อยละ 3) อัตราการเต้นของหัวใจช้าร่วมกับความดันโลหิตต่ำ พบ 3ราย (ร้อยละ 1.3) ปัสสาวะค้าง 1ราย (ร้อยละ0.4)  พบอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่การชาระดับ upper thoracic, lower thoracic และ lumbar  ร้อยละ 19.5 ,5.7 และ 4.8 ตามลำดับ

สรุป  :  พบอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 8.1   ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยที่สุดคืออัตราการเต้นของหัวใจช้า และพบว่าการชาที่ระดับสูงมีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนมากกว่าการชาที่ระดับต่ำ

Background and objective  : Spinal anesthesia was the useful procedure but may lead to morbidity and mortality. The purpose of this study was to investigate the incidence of complications for the patients received spinal anesthesia at Kosumpisai Hospital during January 1, 2009 – December 31, 2011.

Study design :   This was the descriptive study with the retrospective data collection of the patients at Kosumpisai Hospital.

Results :  The results of this study showed that the incidence of complication was found in 19 patients from 236 patients (8.1%). The most common complication was bradycardia in 8 patients (3.4%). Other complications found were: hypotension in 7 patients (3%), bradycardia and hypotension in 3 patients (1.3%), and urinary retention in 1 patient (0.4%). The incidences of complications in  upper thoracic, lower thoracic and lumbar anesthetic level were  19.5 %,5.7% and 4.8%, respectively

Conclusions: The incidences of spinal anesthetic complications were 8.1%.The most common complication was bradycardia. The high level of anesthesia increased the incidence of complications

 

. . . Full text.
Untitled Document
Article Location

Untitled Document
Article Option
       Abstract
       Fulltext
       PDF File
Untitled Document
 
ทำหน้าที่ ดึง Collection ที่เกี่ยวข้อง แสดง บทความ ตามที่ีมีใน collection ที่มีใน list Untitled Document
Another articles
in this topic collection

Surveillance of and Risk Fztors for Difficult Intubation At Srinagarind Hosipital (การเฝ้าระวังการใส่ท่อช่วยหายใจลำบากระหว่างการวางยาระงับความรู้สึกในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง)
 
Surveillance of Drug Error during Anesthesia at Srinagarind Hospital Khon Kaen University (การเฝ้าระวังความผิดพลาดในการให้ยาระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึกในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
 
Incidence of Anesthesia-Associated Cardiac Arrest And Related Factors At Srinagarind Hospital (อุบัติการณ์ภาวะหัวใจหยุดเต้นและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการระงับความรู้สึกในโรงพยาบาลศรีนครินทร์)
 
New Trend Anesthesia for Cesarean Section (แนวโน้มการให้ยาระงับความรู้สึกเพื่อผ่าตัดคลอด)
 
<More>
Untitled Document
 
This article is under
this collection.

Anesthesia
 
 
 
 
Srinagarind Medical Journal,Faculty of Medicine, Khon Kaen University. Copy Right © All Rights Reserved.
 
 
 
 

 


Warning: Unknown: Your script possibly relies on a session side-effect which existed until PHP 4.2.3. Please be advised that the session extension does not consider global variables as a source of data, unless register_globals is enabled. You can disable this functionality and this warning by setting session.bug_compat_42 or session.bug_compat_warn to off, respectively in Unknown on line 0