Untitled Document
 
 
 
 
Untitled Document
Home
Current issue
Past issues
Topic collections
Search
e-journal Editor page

Patient Radiation Dose Received from the Body Interventional Radiology

ปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับจากการตรวจรักษาทางรังสีร่วมรักษาระบบลำตัว

Somsak Wongsanon (สมศักดิ์ วงษ์ศานนท์) 1, Wichai Witchathorntakun (วิชัย วิชชาธรตระกูล) 2, Wattana Wongsanon (วัฒนา วงษ์ศานนท์) 3




หลักการและวัตถุประสงค์:  เพื่อประเมินความเสี่ยงและหาปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับ   จากการตรวจรังสีร่วมรักษาระบบลำตัวว่ามีความปลอดภัยหรือไม่เมื่อเทียบกับค่าปริมาณรังสีอ้างอิงมาตรฐาน

 วิธีการศึกษา:  ทำการวิจัยเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง ที่หน่วยรังสีวินิจฉัย ภาควิชารังสีวิทยา

โรงพยาบาลศรีนครินทร์  คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยการพิจารณาจากข้อมูลการตรวจผู้ป่วยจำนวน 112 ราย ระยะเวลาตั้งแต่เดือน มกราคม – มิถุนายน ปี พ.ศ. 2551 วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณรังสีของกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวกับปริมาณรังสีอ้างอิงมาตรฐาน

ผลการศึกษา :   พบว่า การตรวจรังสีร่วมรักษาหลอดเลือดระบบลำตัวใช้เวลาการฟลูออโรสโคปีเฉลี่ยนานที่สุด 15.7 นาที ผู้ป่วยได้รับปริมาณการดูดกลืนรังสีสะสมเฉลี่ยสูงสุด 133.73 เกรย์ต่อพื้นที่ตารางเซนติเมตร (Gy.cm2 )   และปริมาณการดูดกลืนรังสีสูงสุดต่อรายที่ 0.78 Gy.cm2  การให้สารเคมีบำบัดเฉพาะที่ผ่านทางหลอดเลือดแดงเป็นหัตถการที่มีการตรวจมากที่สุด ใช้เวลา การฟลูออโรสโคปีเฉลี่ย 8.58 นาที ปริมาณของการดูดกลืนรังสีสะสมเฉลี่ย 121.09 Gy.cm2  และปริมาณการดูดกลืนรังสีสูงสุดต่อรายที่ 0.73 Gy.cm2  การระบายน้ำดีออกจากตับผ่านทางผิวหนังเป็นหัตถการที่ ใช้เวลาในการฟลูออโรสโคปีเฉลี่ยน้อยที่สุด 4.71นาที   โดยผู้ป่วยจะได้รับปริมาณการดูดกลืนรังสีสะสมเฉลี่ย 24.127 Gy.cm2  และปริมาณการดูดกลืนรังสีสูงสุดต่อรายที่ 0.34 Gy.cm2  และนำค่าปริมาณรังสีไปเปรียบเทียบกับระดับรังสีอ้างอิงมาตรฐาน พบทุกหัตถการมีค่าปริมาณการดูดกลืนรังสีสะสมที่ผิวหนังทางด้านรังสีเข้าน้อยกว่า 2 เกรย์(Gy.) ซึ่งเป็นปริมาณรังสีอ้างอิงมาตรฐานโดยทีค่าอยู่ที่ 0.090 Gy, 0.008 Gy. และ 0.002 Gy.  ตามลำดับ

สรุป: ผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีสะสมที่ผิวหนังทางด้านรังสีเข้าน้อยกว่า 2 Gy. ซึ่งเป็นปริมาณรังสีมาตรฐานที่กำหนดไว้ จึงมีความปลอดภัยในการตรวจรังสีร่วมรักษาระบบลำตัว

หลักการและเหตุผล : การตรวจรังสีร่วมรักษาระบบลำตัวเป็นหัตถการที่มีความถี่ในการตรวจสูงซึ่งเป็นการตรวจชนิดพิเศษและมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้นจึงจำเป็นต้องใช้เครื่องเอกซเรย์ชนิดฟลูออโรสโคปี(fluoroscopy)ที่ปล่อยค่าพลังงานรังสีเอกซ์ที่แตกต่างกันตามลักษณะการตรวจและชนิดของหัตถการซึ่งจะใช้เวลาตรวจนานไม่เท่ากัน   อาจทำให้เกิดผลอันตรายจากรังสีต่อร่างกายผู้ป่วยการประเมินความเสี่ยงจึงเป็นสิ่งที่ต้องพึงปฏิบัติและหาค่าปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับว่ามีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใดเมื่อนำไปเทียบกับค่าระดับรังสีที่ถือว่าปลอดภัย (threshold dose ) ที่ คณะกรรมาธิการว่าด้วยการป้องกันรังสีนานาชาติกำหนด Objectives and Principles: To make a risk assessment and find out the amount of radiation dose which patients received from the Body Interventional Radiology that it will be safe or not when compared with reference standard dose.

Methods : A descriptive historical research is done by using radiation units of Srinakarin Hospital Diagnostic Radiology Department, Faculty of Medicine, Khon-Kaen University and the data receive from112 patients. Started from January-June 2007 and then were analyzed the relationship between the sample radiation dose and reference radiation dose.

วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับจากการตรวจทางรังสีร่วมรักษาระบบลำตัวว่าแต่ละหัตถการมีค่าเท่าใด Result : It’s found that the abdominal Embolization. Takes the longest fluoroscopic time of about 15.7 minutes and the patients received the highest accumulated dose of 133.73 Gy.cm2 in mean average and the maximum radiation dose for each patient was 0.78 Gy. TransArterialchemoembolization(TOCE) เป็นหัตถการที่มีความถี่ในการตรวจมากที่สุดใช้เวลา fluoroscopic time เฉลี่ย 8.58 นาทีโดยผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีสะสมเฉลี่ย 121.09 Gy.CM 2 และผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีสูงสุดต่อรายที่ 327.60 Gy.CM 2 และ Percutaneus Tranhepatic Biliary Drainage ( PTBD)เป็นหัตถการที่ Chemo-embolization procedure which tookmost of the fluoroscopic time at approximately 8.58 minutes and the average accumulated dose was 121.09 Gy.cm2. The maximum accumulated dose in a person was 0.73 Gy. Percutaneus transhepatic biliary drainage was the procedureใช้เวลา fluoroscopic time เฉลี่ยน้อยที่สุด that took less of fluoroscopic time about4.71นาที   โดยผู้ป่วยจะได้รับปริมาณรังสีสะสมเฉลี่ย 24.127 Gy.CM 2 และผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีสูงสุดต่อรายที่ 115.89 Gy.CM 2 และเมื่อนำค่าปริมาณรังสีที่ได้ไปวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับระดับรังสีที่ถือว่าปลอดภัยโดยICRP 4.71 minutes. The patients received the average accumulated dose was about 24.127 Gy.cm 2 and the maximum dose was about 0.34 Gy in a person. All the dose were then analyzed and compared with the standard reference dose. It was found that in every procedure the entrance skin dose were 0.090, 0.008 and 0.002 Gy. Respectively and the rests were less than safety standard value of 2 Gy.

Conclusion : Patients receive accumulated skin dose less than 2 Gy which is conformed to  the standard dose limit. It indicates that the process of body interventional radiology is absolutely safe.

 

 

. . . Full text.
Untitled Document
Article Location

Untitled Document
Article Option
       Abstract
       Fulltext
       PDF File
Untitled Document
 
ทำหน้าที่ ดึง Collection ที่เกี่ยวข้อง แสดง บทความ ตามที่ีมีใน collection ที่มีใน list Untitled Document
Another articles
in this topic collection

Fear Level in Preschoolers Undergoing Computed Tomography: Affect of Psychological Preparation by Story vs. Normal Preparation (การศึกษาเปรียบเทียบความกลัวการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของเด็กวัยก่อนเรียนระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเตรียมจิตใจด้วยการเล่านิทานกับกลุ่มที่ได้รับการเตรียมตามปกติ)
 
Risk Factors Associated With Allergic To Non – Ionic Contrast Media In Patients Undergoing Chest Or Abdominal Computed Tomography (ปัจจัยเสี่ยงต่อการแพ้สารทึบรังสีชนิดไม่แตกตัวในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอกและช่องท้อง)
 
Diagnostic Reliability of the Singh Index : Femoral Neck Osteoporosis (ความน่าเชื่อถือของ Sign index ในการวินิจฉัยโรคกระดูกำพรุนของคอกระดูกต้นขา)
 
Clinical Manifestations and Angiographic Ceatures in Carotid – Cavernous sinus Fistula (ลักษณะทางคลินิกและลักษณะทางรังสีวิทยาในผู้ป่วย Carotid – Cavernous sinus Fistula)
 
<More>
Untitled Document
 
This article is under
this collection.

Radiology
 
 
 
 
Srinagarind Medical Journal,Faculty of Medicine, Khon Kaen University. Copy Right © All Rights Reserved.
 
 
 
 

 


Warning: Unknown: Your script possibly relies on a session side-effect which existed until PHP 4.2.3. Please be advised that the session extension does not consider global variables as a source of data, unless register_globals is enabled. You can disable this functionality and this warning by setting session.bug_compat_42 or session.bug_compat_warn to off, respectively in Unknown on line 0