Abstract
Background: A child who has an acutely irritable hip can pose a diagnostic challenge. The purposes of this study were to determine the diagnostic value of presenting variables for differentiating between septic arthritis and primary psoas abscesses in children who present with hip pain.
Purpose: This study was to determine the diagnostic value of the clinical presentations in children for differentiating between septic arthritis of the hip joint and psoas abscess.
Methods: The cases of children evaluated for an acutely irritable hip at a university hospital between 1984 and 2001 were reviewed retrospectively. Diagnoses of septic arthritis of the hip joint and psoas abscess were defined by the presence of pus in the hip joint or in the psoas muscles, results of cultures of the joint fluid, blood and pus, and the clinical course. The clinical presentations were used to differentiate between septic arthritis and psoas abscesses; univariate and multiple logistic regression analyses were used to assess their statistical significance.
Study design: Case-control study
Setting: Department of Orthopedics, Faculty of Medicine, Khon Kaen University
Results: Thirty-seven patients, 13 girls and 24 boys, had septic arthritis of the hip joint and ten, 4 girls and 6 boys, had a psoas abscess. The mean age of the septic hip and psoas abscess groups were 9.7± 3.6 years (range, 4 to14 years) and 8.3±4.2 years (range, 5 months to 14 years) respectively. The left hip joint was affected in 21 cases, the left psoas muscle in 7. Staphylococcus aureus was the causative pathogen in 25 cases of the septic hip group and 6 of the psoas abscess group. Most of the psoas abscess group (90 percent, 9/10 cases) presented with a lower abdominal mass whereas none were found in the septic hip group (p<. 001). All of patients in the psoas abscess group experienced abdominal pain, while none in the septic hip group did (p<. 001). None of the patients in the septic hip group was able to walk but all of the psoas abscess group was able to do so (p<. 001). All cases in both groups presented with fever and hip flexion contracture except one in the septic hip group. Results of other laboratory investigations were similar for both groups, except that ultrasound of abdomen revealed abscesses inside affected psoas muscles. The mean duration of symptoms was 9.5 ± 8.8 days and 31.6±35.2 days in the septic hip and psoas abscess groups, respectively (p<. 001). The multiple logistic regression indicated that lower abdominal mass and pain, and ability to bear weight were significant variables only in the psoas abscess group.
Conclusions: Pyogenic psoas abscess is the most likely diagnosis in children who present with fever, hip pain and flexion contracture of the hip joint, but can bear weight, and have clinical findings that include lower abdominal masses and pain.
วัตถุประสงค์: เพื่อต้องการวิเคราะห์แยกโรคข้อตะโพกอักเสบเป็นหนองออกจากกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนองโดยอาศัยลักษณะทางคลินิก
วิธีการ:โดยศึกษาจากเวชระเบียนของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นข้อตะโพกอักเสบเป็นหนองหรือกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนองที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ในช่วงปี พ.ศ. 2527-2544 การวินิจฉัยโรคทั้งสองอาศัยประวัติการตรวจพบหนองในข้อตะโพกหรือในกล้ามเนื้อ psoas ผลการเพาะเลี้ยงเชื้อ ย้อมพบเชื้อจากน้ำไขข้อ จากเลือด จากหนอง ร่วมกับการดำเนินของโรค ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยทั้งหมดจะได้รับการบันทึกเพื่อใช้ในการวิเคราะห์แยกโรคทั้งสองโดยวิธี univariate and multiple logistic regression analyses
รูปแบบของงานวิจัย Case-control study
สถานที่ทำการศึกษา:ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผลการศึกษา: มีผู้ป่วยที่เป็นข้อตะโพกอักเสบเป็นหนอง 37 คนเป็นเด็กผู้หญิง 13 คน เด็กผู้ชาย 24 คนและมีเด็กที่เป็นกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนอง 10 คน เป็นเด็กหญิง 4 คน และเด็กชาย 6 คน อายุเฉลี่ยของเด็กที่เป็นข้อตะโพกอักเสบเป็นหนอง 9.7 ± 3.6 ปี (4-14 ปี) และเด็กที่เป็นกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนองมีอายุเฉลี่ย 8.3 ± 4.2 ปี(5 เดือน-14 ปี) เป็นข้อตะโพกด้านซ้าย 21 คนและเป็นกล้ามเนื้อ psoas ซ้าย 7 คน เชื้อ Staphylococcus aureus เป็นเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคข้อตะโพกอักเสบเป็นหนอง 25 คน และเป็นกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนอง 6 คน ร้อยละ 90 (9/10 คน)ของกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนองมาพบแพทย์ด้วยเรื่องมีก้อนที่ท้องน้อยขณะที่ไม่พบเลยในกลุ่มข้อตะโพกอักเสบเป็นหนอง (p<0.001) ผู้ป่วยทุกคนในกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนองมาพบแพทย์ด้วยเรื่องปวดท้องแต่ไม่พบเลยในกลุ่มข้อตะโพกอักเสบเป็นหนอง (p<0.001). ผู้ป่วยในกลุ่มข้อตะโพกอักเสบเป็นหนองทุตรวจทางห้องปฏิบัติการของผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันยกเว้นผลการตรวจ ultrasound ซึ่งให้ผลบวกในผู้ป่วยทุกรายในกลุ่มกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนอง ระยะเวลาการมีอาการก่อนมารับการรักษาพบว่าในกลุ่มกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนอง (31.6±35.2 วัน)มีระยะเวลานานกว่ากลุ่มข้อตะโพกอักเสบเป็นหนอง(9.5 ± 8.8 วัน)อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.001) จากการวิเคราะห์ multiple logistic regressionพบว่า การปวดและคลำได้ก้อนที่ท้องน้อยร่วมกับผู้ป่วยสามารถเดินลงน้ำหนักของขาด้านที่เป็นโรคได้จะช่วยวินิจฉัยภาวะ กล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนอง
สรุป: เด็กที่มีประวัติเป็นไข้ เจ็บข้อตะโพกร่วมกับมีอาการข้อตะโพกติดงอ ถ้าผู้ป่วยสามารถเดินลงน้ำหนักของขาด้านที่เป็นได้ให้นึกถึงภาวะกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนอง และถ้าตรวจร่างกายต่อจะพบก้อนที่ท้องน้อยด้านที่เป็นและมีอาการปวดที่ก้อน
ที่มา: อาการเจ็บที่ข้อตะโพกและมีไข้ในเด็กนั้นควรนึกถึงการติดเชื้อที่ข้อตะโพกและกล้ามเนื้อ psoas อักเสบเป็นหนองทั้งสองโรคนี้พบได้บ่อยกว่าโรคอื่นจึงมีความจำเป็นที่ต้องแยกโรคทั้งสองออกจากกันโดยอาศัยอาการ อาการแสดงและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ . . .
Full text.
|