สรุป
ความต้องการการดูแลของผู้ป่วยระยะสุดท้าย คือ ความต้องการด้านร่างกายในการจัดการอาการปวด ด้านจิตใจต้องการให้มีผู้รับฟังการระบายความรู้สึก ต้องการกลับไปอยู่บ้านกับครอบครัว ต้องการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจวางแผนการรักษาล่วงหน้า และการสนับสนุนให้มีกิจกรรมตามความเชื่อ ข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาระบบบริการต่อไป
กิตติกรรมประกาศ
คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ 1) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ได้สนับสนุนทุนวิจัยสถาบัน 2) คุณแก้วใจ เทพสุธรรมรัตน์ นักวิชาการการศึกษา งานบริการวิชาการและวิจัย คณะแพทยศาสตร์ ที่ให้คำแนะนำด้านสถิติ 3) คุณสุธีรา ประดับวงษ์ ที่ให้ความช่วยเหลือทบทวนบทความ และ 4) ผู้ป่วยและญาติที่ให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ในการวิจัย
เอกสารอ้างอิง
1. นงลักษณ์ สัจจานิจการ. ผลการดูแลผู้ป่วยที่เจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายจากโรงพยาบาลสู่เครือข่ายชุมชน [อินเตอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 12 พ.ย. 2557]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.tphospital.com/web_tphospital/index.php
2. สถาบันมะเร็งแห่งชาติ.สถิติโรคมะเร็งของประเทศไทย [อินเตอร์เน็ต]. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 10 มี.ค. 2558]. เข้าถึงได้จาก: http://www.srth.moph.go.th/nmsurat/index.php?option=com_content&view=article&id=53&Itemid=37
3. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดัชนีประเมินภาวะโรคและสุขภาพ ประชากรไทย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. Cancer control, knowledge into action World Health Organization 2007; 2555; 7-9.
4. Hanks GW, Conno F, Cherny N, Hanna M, Kalso E, McQuay HJ, et al. Morphine and alternative opioids in cancer pain: the EAPC recommendations. Br J Cancer 2001 ; 84: 587-93.
5. อนุพันธ์ ตันติวงศ์ ผ่องพักตร์ พิทยพันธุ์ และสุชาย สุนทราภา. การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย. กรุงเทพฯ : พิมพ์ที่ เอช. พี. เพรส จำกัด, 2550.
6. แพรวพรรณ ปราโมช ณ อยุธยา, สุปรีดา มั่นคง, ประคอง อินทรสมบัติ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแล
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายต่อความรู้และการรับรู้. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2554; 17: 141-55.
7. ภัคสุภพิชญ์ ศรีกสิพันธุ์, อรสา พันธ์ภักดี, รัตนา มาศเกษม. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการปรับตัวของผู้ป่วยมะเร็งกับความพึงพอใจในชีวิต. วารสารพยาบาล 2535; 1:41-45.
8. ทัศนา มหานุภาพ นันทา เล็กสวัสดิ์ และกนกพร สุคำวัง. (2543). ทัศนคติต่อการตายของผู้ป่วยและผู้ป่วยใกล้ตายของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่. รายงานการวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
9. นฤบดี ลาภมี.การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (End of life care) [อินเตอร์เน็ต]. 2556
[เข้าถึงเมื่อ 11 มี.ค. 2557]. เข้าถึงได้จาก http://www.gotoknow.org/posts/516043.
10. สถาพร ลีลานันทกิจ. Palliative Care. วารสารโรคมะเร็ง 2539; 1: 51-59.
11. อรพรรณ ไชยเพชร, กิตติกร นิลมานัต, วภาวี คงอินทร์.ประสบการณ์ของพยาบาลไอซียูในการดูแลผู้ป่วย
ระยะสุดท้าย.วารสารสภาการพยาบาล 2554; 1: 41-55.
12. พรพรรณ วนวโรดม, พิจิตรา เล็กดำรงกุล, วันทกานต์ ราชวงศ์. ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทาง
สังคมสถานภาพการเงิน พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับ
รังสีรักษา. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2557; 1: 15-27.
13. โรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาแบบประคับประคอง. กรุงเทพ: สินทวีการพิมพ์; 2551.
14. Piers RD, Azoulay E, Ricou B, Dekeyser Ganz F, Decruyenare J, Max A, et al. Perceptions of Appropriateness of Care Among European and Irsaeli Intensive Care Units Nurse Physicians. JAMA 2011; 24: 2694-703.