สรุป
ดัชนีชี้วัดคุณภาพร้านยาเป็นเครื่องมือที่สามารถนำมาใช้เพื่อส่งเสริมคุณภาพของการให้บริการด้านการดูแลสุขภาพของผู้รับบริการร้านยา ข้อมูลที่ได้จาการประเมินสามารถบอกได้ถึงประเด็นหรือมิติของการให้บริการที่ทำได้ดีแล้วและที่ยังทำได้ไม่ดี ซึ่งเภสัชกรประจำร้านยาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลที่ได้ไปพิจารณาดำเนินการปรับปรุง ส่งเสริม รณรงค์ หรือจัดกิจกรรมเพื่อให้ได้คุณภาพของการบริการที่ดีอย่างต่อเนื่อง รวมถึงให้เกิดการพัฒนาของคุณภาพในร้านยาให้สูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป ซึ่งการกระตุ้นสามารถทำผ่าน 3 วิธีการใหญ่ ๆ คือ กระตุ้นผ่านการควบคุม (regulation) โดยการตั้งเป็นกฎหรือมาตรฐานเพื่อให้คนปฏิบัติ, กระตุ้นผ่านการรายงานให้ชุมชนหรือสังคมรับรู้ (public reporting) และกระตุ้นผ่านระบบการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับร้านที่มีคุณภาพที่ดี (Financial incentive) การเรียนรู้แนวคิดของการมีดัชนีชี้วัดคุณภาพ ขั้นตอนการพัฒนาดัชนี มิติของการประเมินคุณภาพ ตัวอย่างของการสร้าง ทดสอบคุณสมบัติและการนำไปใช้จริง จะทำให้เรามีแนวทางเดินในการพัฒนาคุณภาพร้านยาได้ง่ายขึ้น
เอกสารอ้างอิง
1. Campbell SM, Roland MO, Buetow SA. Defining quality of care. Soc Sci Med 2000; 51: 1611-25.
2. De Bie J, Kijlstra NB, Daemen B JG, Bouvy M L. The development of quality indicators for community pharmacy care. BMJ Qual Saf 2011; 20: 666-71.
3. Brook RH, McGlynn EA, Shekelle PG. Defining and measuring quality of care: a perspective from US researchers. Int J Qual Health Care 2000; 12: 28195.
4. Mainz J. Defining and classifying clinical indicators for quality improvement. Int J Qual Health Care 2003; 15: 523-30.
5. Vuk T. Quality indicators: A tool for quality monitoring and improvement. ISBT Science Series 2012; 7: 24-8.
6. Campbell SM, Braspenning J, Hutchinson A, Marshall MN. Research methods used in
developing and applying quality indicators in primary care. BMJ 2003; 326: 816-9.
7. Morris CJ, Rodgers S, Hammersley VS, Avery AJ, Cantrill JA. Indicators for preventable drug related morbidity: application in primary care. Qual Safe Health Care 2004; 13: 1815.
8. Rubin HR, Pronovost P, Diette GB. From a process of care to a measure: the development and testing of quality indicator. Int J Qual Health Care 2001; 13: 489 96.
9. Kötter T, Blozik E, Scherer M. Methods for the guideline-based development of quality indicators: a systematic review. Implement Sci 2012; 7: 21-43.
10. Kimberlin C L, Winterstein AG. Validity and reliability of measurement instruments used in research. Am J Health Syst Pharm 2008; 65: 2276-84.
11. ศุภกิจ วงศ์วิวัฒนนุกิจ, ธิติมา วัฒนวิจิตรกุล, คทาชัย เหล่าศรีมงคล, ทรงพล บุญธรรมจินดา,
ศิระ เฉลียวจิตติกุล. การสร้างและทดสอบความตรงของเครื่องมือเพื่อใช้วัดความพึงพอใจของผู้รับบริการในร้านยา. วารสารวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2548; 19: 87-104.
12. ปาริชาติ แก้วอ่อน, สงวน ลือเกียรติบัณฑิต, วรนุช แสงเจริญ. ร้านยาที่ได้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรมและร้านยาแผนปัจจุบันทั่วไปมีคุณภาพแตกต่างกันหรือไม่. วารสารเภสัชกรรมไทย 2555; 4: 39 - 64.
13. สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) ตัวชี้วัดคุณภาพและแบบประเมินตนเองเพื่อหาโอกาสใน
การ พัฒนาของร้านยา (ฉบับเดือน เมษายน พ.ศ. 2555). 2555; [ค้นเมื่อ 29 เมษายน 2558] จาก
http://www.pharcpa.com/files/20120422_GPP_Quality_Indicator.doc.
14. สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย). GPP Quality Indicators ตัว ชี้วัดคุณภาพและแบบประเมินตนเอง เพื่อหาโอกาสในการพัฒนาของร้านยา เพื่อการให้บริการเภสัชกรรม ในร้านยามีลักษณะของการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม. 2555; [ค้นเมื่อ 29 เมษายน 2558] , จาก http://www.pharcpa.com/files/2555/0812_03_GPP_Quality_Indicators.pdf.
15. อภิชญา วงค์ประทัต, วิวรรธน์ อัครวิเชียร, สุณี เลิศสินอุดม. คุณภาพของการให้บริการตามตัวชี้วัดคุณภาพร้านยาที่พัฒนาโดยสมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) ระหว่างร้านยาคุณภาพและร้านยาแผนปัจจุบันทั่วไปในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารเภสัชศาสตร์อีสาน 2558; 11: 99-112.
16. Jankovic SM, Maksimovic MR, Vusanovic A, Kostic IR, Kovacevic ZN, Mitric M.
Service quality in public and private pharmacies in the city of Kragujevac, Yugoslavia. Croat
Med J 2001; 42: 88-91.
17. Syhakhang L, Stenson B, Wahlström R, Tomson G. The quality of public and private pharmacy practices. A cross sectional study in the Savannakhet province, Lao PDR. Eur J Clin Pharmacol 2001; 57: 221- 7.
18. Trap B, Hansen EH, Trap R, Kahsay A, Simoyi T, Oteba MO, et al. A new indicator based tool for assessing and reporting on good pharmacy practice. Southern Med Review 2010; 3: 4-11.
19. Winslade N, Taylor L, Shi S, Schuwirth L, Van der Vleuten C, Tamblyn R. Monitoring Community Pharmacists Quality of Care: A feasibility study of using pharmacy claims data to assess performance. BMC Health Services Research 2011, 11:12. http://www.biomedcentral.com/1472-6963/11/12
20. Gokcekus L, Toklu HZ, Demirdamar R, Gumusel B. Dispensing practice in the community pharmacies in the Turkish Republic of Northern Cyprus. Int J Clin Pharm 2012; 34: 31224.
21. Hasan S, Sulieman H, Stewart K, Chapman CB, Hasan MY. Assessing patient satisfaction with community pharmacy in the UAE using a newly-validated tool. Research in Social and Administrative Pharmacy 2013; 9: 84150.