สิ่งส่งตรวจ |
ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ1-6,16 |
CBC |
|
Hemoglobin, Hematocrit |
-อายุมากกว่า 45 ปี
-มีหรือสงสัยภาวะเลือดจาง โรคเลือด โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็ง โรคไต
-ภาวะเลือดออกง่ายผิดปกติ
-ภาวะทุโภชนาการ
-ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาเคมีบำบัด รังสีรักษา ยากลุ่ม steroid
-การผ่าตัดที่มีโอกาสจะเสียเลือดมาก มีขอบเขตกว้างขวางหรือมีการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อมาก |
WBC |
-มีหรือสงสัยภาวะติดเชื้อ โรคเลือด โรคมะเร็ง โรคไต
-ภาวะทุโภชนาการ
-ได้รับยาเคมีบำบัด รังสีรักษา ยากลุ่ม steroid |
Platelet count |
-ภาวะเลือดออกง่ายผิดปกติ
-โรคเลือด โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็ง โรคไต
-ภาวะทุโภชนาการ
-ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด เคมีบำบัด รังสีรักษา ยากลุ่ม steroid |
Urinalysis |
-ภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
-โรคไต
-ภาวะผิดปกติทาง metabolism
หมายเหตุ บางท่านแนะนำให้ตรวจเป็นกิจวัตร เพราะค่าตรวจไม่แพง |
BUN, Creatinine |
-อายุมากกว่า 40 ปี
-โรคไต โรคตับ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคปอด ความดันโลหิตสูง อ้วนมาก (morbid obesity) โรค SLE
-ภาวะขาดน้ำ ปัสสาวะน้อย ปัสสาวะเป็นเลือด กดเจ็บชายโครง
-ประวัติเปลี่ยนถ่ายไต ล้างไต
-ได้รับยาที่อาจมีผลต่อการทำงานของไต NSAID, ACE inhibitor, digoxin, diuretics, ยากลุ่มsteroid
-การผ่าตัดใหญ่ มีโอกาสที่จะเสียเลือดมาก หรือต้องมีการฉีดสารทึบรังสี |
Electrolytes
|
-อายุมากกว่า 65 ปี
-โรคไต โรคตับ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคปอด โรคหลอดเลือดสมอง
-ภาวะขาดน้ำ ขาดอาหาร อาเจียน ท้องเดิน ท้องมาน
ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดเกินกว่า 24 ชั่วโมง
-ได้รับยาขับปัสสาวะ digoxin, ยากลุ่มsteroid
-การผ่าตัดที่มีความเสี่ยงสูง |
Glucose |
-อายุมากกว่า 45 ปี
-โรคเบาหวานหรือมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นเบาหวาน อ้วนมาก (morbid obesity) โรคหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง
-ได้รับยากลุ่ม steroid
-การผ่าตัดหลอดเลือดหรือหลอดเลือดหัวใจ |
LFT
|
-โรคตับ โรคของถุงน้ำดีและท่อน้ำดี ดีซ่าน โรคพิษสุรา
เรื้อรัง โรคเรื้อรังร้ายแรงต่างๆ ประวัติเจ็บป่วยรุนแรง
ก่อนหน้านี้ไม่นาน
-ภาวะทุโภชนาการ โภชนาการผิดปกติ ภาวะเลือดออกง่ายผิดปกติ |
Coagulation study
|
-มีหรือสงสัยภาวะเลือดออกง่ายผิดปกติ
-โรคตับ โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคมะเร็ง
-ภาวะทุโภชนาการ
-ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาอื่นๆที่มีผลต่อการแข็งตัวของเลือด เช่นได้รับยาปฏิชีวนะที่อาจมีผลต่อการแข็งตัวของเลือดเป็นเวลานาน
-การผ่าตัดที่มีความเสี่ยงอย่างวิกฤติต่อการเสียเลือด |
EKG
|
-อายุ >50 ปีในผู้ป่วยทั่วไป หรืออายุ >45 ปีในชายที่สูบบุหรี่
-โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง โรคปอด โรคเบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคไต โรคSLE อ้วนมาก (morbid obesity)
-มีอาการเจ็บหน้าอกหายใจขัดเมื่อออกกำลังกาย ใจสั่น ขาบวม มี valvular murmur
-ได้รับยาที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ยาขับปัสสาวะ digoxin
-ได้รับรังสีรักษาบริเวณทรวงอก |
CXR
|
-อายุ >50 ปี
-โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด โรคปอด โรคหลอดลม โรคมะเร็ง โรค SLE
-สูบบุหรี่
-ได้รับรังสีรักษาบริเวณทรวงอก
|
เอกสารอ้างอิง
1. Sharma GK, Sharma SB, Shaheen WH. Preoperative testing.(last updated: Mar 15,2007) Available at URL:http://www.emedicine.com/med/topic3172.htm
2. Smetana GW, Macpherson DS. The case against routine preoperative laboratory testing. Med Clin N Am 2003;87:7-40.
3. Baxendale BR.Preoperative assessment and premedication. In: Aitkenhead AR, Smith G, Rowbotham DJ, editors. Textbook of anaesthesia. 5thed. Edinburgh: Churchill Livingstone, 2007:280-96.
4. Sweitzer BJ. Overview of preoperative assessment and management. In: Longnecker DE, Brown DL, Newman MF, Zapol WM, editors. Anesthesiology. New York: McGraw Hill, 2008:40-67.
5. Fischer SP. Cost-effective preoperative evaluation and testing. Chest 1999;115:96s-100s.
6. Hata TM, Moyers JR. Preoperative evaluation and management. In: Barash PG, Cullen BF, Stoelting RK, editors. Clinical anesthesia. 5thed. Philadelphia: Lippincott Williams and Wilkins, 2006:475-501.
7. Sandler G. The importance of the history in the medical clinic and the cost of unnecessary tests. Am Heart J 1980;100:928-31.
8. Schein OD, Katz J, Bass EB, Tielsch JM, Lubomski LH, Feldman MA, et al. The value of routine preoperative medical testing before cataract surgery. N Engl J Med 2000;342:168-75.
9. Kaplan EB, Sheiner LB, Boeckmann AJ, Roizen MF, Beal SL, Cohen SN, et al. The usefulness of preoperative laboratory screening. JAMA 1985;253:3576-81.
10. Blery C, Szatan M, Fourgeaux B, Charpak Y, Darne B, Chastang GL, et al. Evaluation of a protocol for selective ordering of preoperative tests. Lancet 1986;18:139-41.
11. Turnbull JM, Buck C. The value of preoperative screening investigations in otherwise healthy individuals. Arch Intern Med 1987;147:1101-5.
12. Narr BJ, Hansen TR, Warner MA. Preoperative laboratory screening in healthy Mayo patients: Cost-effective elimination of tests and unchanged outcomes. Mayo Clin Proc 1991;66:155-9.
13. Practice advisory for preanesthesia evaluation. A report by the American Society of Anesthesiologists Task Force on preanesthesia evaluation. Anesthesiology 2002;96:485-96.
14. Macpherson DS, Snow R, Lofgren RP. Preoperative screening: value of previous tests. Ann Intern Med 1990;113:969-73.
15. Roizen MF. More preoperative assessment by physicians and less by laboratory tests. N Engl J Med 2000;342:204-5.
16. แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก (Preanesthetic evaluation) (ปรับปรุง พ.ศ. 2548)