การใช้ประโยชน์
ผลจากการศึกษาครั้งนี้ ทำให้ทราบถึงปัญหาที่จะเกิดมากขึ้นในอนาคต เมื่อเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการดูแลจกโรงพยาบาลศรีนครินทร์เติบโตเข้าสู่กลุ่มเด็กโตและวัยรุ่นมากขึ้น ทีมสหวิชาชีพสามารถนำผลการศึกษานี้ไปพัฒนางานในการดูแลรักษาผู้ป่วยโดยวางรูปแบบกิจกรรม การให้ความรู้ความเข้าใจ ให้เด็กโตและวัยรุ่นสามารถดูแลการกินยาและดูแลตนเองได้ถูกต้องมากขึ้น
นอกจากนี้ผลการศึกษานี้ อาจใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเป็นแนวทางในการศึกษาครั้งต่อไป เพื่อหาสาเหตุต่างๆที่มีผลต่อวินัยในการกินยาของเด็กแต่ละกลุ่ม และเครื่องมือต่างๆที่จะส่งเสริมความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเด็กเหล่านี้
เอกสารอ้างอิง
1. วิเคราะห์สถานการณ์ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยโรคเอดส์ในประเทศไทย.กลุ่มโรคเอดส์
สำนักโรคเอดส์ วัณโรคแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรคกระทรวง สาธารณสุข,
2549. [ค้นเมื่อ 30/06/2550] ; จาก http://www.aidsthai.org/sathana_050131.html )
2. สถิติผู้ติดเชื้อเอดส์ตั้งแต่ กันยายน 2527 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2550.สำนักระบาดวิทยา กรม
ควบคุมโรค.สถิติเอดส์, 2550. [ค้นเมื่อ 13/07/2550] จาก http://www.aidsbangkok.cjb.
net.2550.)
3. Moatti JP, Spire B, Kazatchkine M. Drug resistance and adherence to HIV/AIDS
antiretroviral treatment against a double standard between north and south . AIDS. 2004; 18:
s55-61
4. Peterson DL, Swindells S, Mohr J, Brester M, Vergis EN, Squier C, et al. Adherence to protease inhibitor therapy and outcomes in patients with HIV infection. Ann Intern Med 2000; 133: 21-30.
5. อรรณพ หิรัญดิษฐ์. ความร่วมมือในการใช้ยา (Adherence). ใน: พีระมน นิงสานนท์, สัญชัย
ชาสมบัติ, ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล, และคณะ, บรรณาธิการ. สรุปบทเรียนการส่งเสริมการ
รับประทานยาต้านไวรัสเอชไอวีอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอสำหรับผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์.
กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด; 2547: 21-35.
6. เสาวคนธ์ อ่อนเกตุพล, กิตติกร นิลมานัต, ประณีต ส่งวัฒนา. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความ
สม่ำเสมอในการกินยาต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์. วารสารโรคเอดส์2549; 19:
18-62.
7. นภาวรรณ วิริยะศิริกุล, บุษกร พันธ์เมธาฤทธิ์, วันธนี วิรุฬห์พานิช. อิทธิพลของสัมพันธภาพใน
ครอบครัวและภาระการดูแลต่อพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลเด็กวัยเรียนที่ติดเชื้อเอ็ชไอวี.วารสาร
โรคเอดส์ 2549; 18: 150-9.
8. Ostrop N, Hallett K, Gill M . Long term patient adherence to antiretroviral therapy. Ann
Pharmacotherapy 2000: 34: 703-9.
9. Guidelines for the Use of Antiretroviral Agents in Pediatric HIV Infection, 2006. [Accessed
24/05/2006]; Available from : http://www.hivpositive.com/f-treatment/NIH-AntiViral/GuLnsKids/.)
10. Panel on Clinical Practices for Treatment of HIV Infection. Guidelines for the use of
antiretroviral agents in Pediatric HIV Infection, 2006. [Accessed 24/03/2006] ; Available from : http:// aidsinfo.nih.gov )
11. Fielding D, Duff A. Compliance with treatment protocols; intervention for children with
chronic illness. Arch Dis Child 1999; 80: 196-200.
12. เพณณินาท์ โอเบอร์ดอร์เฟอร์. การช่วยเหลือเด็กวัยรุ่นให้มีวินัยในการกินยาต้านไวรัสเอชไอวี.
วารสารกุมารเวชศาสตร์ 2548; 45: 159-64.
13. Mehta S, Moore RD, Graham NMH. Potential factors affecting adherence with HIV therapy.
AIDS1997; 11: 1165-70.
14. Bikaako-Kajura W, Luyirika E, Purcell DW, Downing J, Kaharuza F, Mermin j, et al. Disclosure of Hiv status and adherence to daily drug regimens among HIV infected children in Ugunda . Aids and Behavior 2006 ; 10: S85-93.